กฎหมาย ทาง อาญา

  1. ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา - LAW
  2. กฎหมายทางอาญา
  3. กฎหมายอาญา | MindMeister Mind Map
  4. กฏหมายแพ่งและอาญา - wilawan3988
  5. หลักกฎหมายอาญา - criminal law
  6. กฎหมาย การลงโทษทางอาญาและการควบคุมการก่ออาชญากรรม

แนวคิด 1. กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการป้องกันสังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อย โดยกำหนดว่าการกระทำใดเป็นความผิดอาญาและกำหนดโทษของผู้ฝ่าฝืน 2. ลักษณะที่สำคัญของกฎหมายอาญา คือเป็นกฎหมายที่กำหนดเป็นความผิดชัดแจ้งและไม่มีผลบังคับย้อนหลังที่เป็นโทษแก่ผู้กระทำความผิด 3. โทษทางอาญามี 5 ชนิด คือ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับและริบทรัพย์สิน4. การกระทำความผิดทางอาญามีบางกรณีที่กฎหมายยกเว้นโทษและยกเว้นความผิด 5. เด็กและเยาวชนกระทำความผิดอาจได้รับโทษต่างกับการกระทำความผิดของผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กและเยาวชนเป็นผู้อ่อนเยาว์ ปราศจากความรู้สึกรับผิดชอบ การลงโทษต้องคำนึงถึงอายุของเด็กกระทำความผิด 1. ความผิดทางอาญา ความผิดทางอาญา คือ การกระทำที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ เมื่อบุคคลใดกระทำความผิดทางอาญา จะต้องได้รับโทษตามกฎหมายมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของการกระทำความผิด กฎหมายมิได้ถือว่าการกระทำความผิดทุกอย่างร้ายแรงเท่าเทียมกัน การลงโทษผู้กระทำความผิดจึงขึ้นอยู่กับการกระทำ และสังคมมีความรู้สึกต่อการกระทำนั้นๆ ว่า อะไรเป็นปัญหาสำคัญมากน้อยเพียงใด ซึ่งอาจจะแบ่งการกระทำความผิดอาญาออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.

ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา - LAW

กฎหมายทางอาญา

2. 1 กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่กำหนดให้บุคคลกระทำการใดหรือห้ามไม่ให้กระทำการใด ซึ่งเป็นกฎหมายที่จำกัดสิทธิและเสรีภาพของตนในสังคม แต่กฎหมายอาญาก็เป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐที่จะใช้บังคับกับคน สังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อย อยู่ร่วมกันได้อย่างผาสุก ดังนั้นแม้ว่ากฎหมายอาญาจะกระทบกระเทือนกับสิทธิเสรีภาพของตนในสังคมก็ตาม แต่ก็จำเป็นที่จะต้องมีกฎหมายอาญา รัฐเป็นผู้ออกกฎหมายโดยผ่านกระบวนการออกกฎหมายของแต่ละรัฐ 2.

กฎหมายอาญา | MindMeister Mind Map

ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง การ ปลอมแปลง คือ การทำให้มีขึ้นซึ่งของปลมอ เช่น ธนบัตรปลอม เอกสารปลอมโฉนดที่ดินปลอมการแปลง คือ การทำของเดิมซึ่งมีอยู่จริงเปลี่ยนสภาพไป เช่น เจาะเอาเนื้อเงินออกจากเหรียญห้าบาทบางส่วน 5. ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ความผิดฐานการวางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น ทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท ปลอมปนอาหาร ยา เครื่องอุปโภค บริโภค 6. ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศชาติ การคิดร้ายทำลายสถาบันกษัตริย์ การคิดร้ายทำลายผู้แทนของประเทศที่มีสัมพันธไมตรีกับไทย การคิดร้ายต่อประเทศไทย 7. ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง การดูถูก ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน การติดสินบนเจ้าพนักงาน การต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน 8. ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ของทางราชการ เจ้าพนักงานรับสินบนจากประชาชน เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ เจ้าพนักงานทุจริตต่อหน้าที่ เจ้าพนักงานละทิ้งหน้าที่ 9. ความผิดลหุโทษเป็นความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ ซึ่งมีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้ ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน แม้กระทำโดยไม่มีเจตนาก็เป็นความผิด ผู้พยายามหรือผู้สนับสนุนไม่ต้องรับโทษ โทษทางอาญา 1.

กฏหมายแพ่งและอาญา - wilawan3988

กฏหมายแพ่งและอาญา ความผิดทางอาญาและความผิดทางแพ่ง แตกต่างกันอย่างไร เนื่องจากกฎหมายอาญามีความประสงค์ที่จะคุ้มครองความปลอดภัยของชุมชนแต่กฎหมายแพ่งมีความประสงค์ที่จะคุ้มครองสิทธิของเอกชน จึงมีข้อแตกต่างที่สำคัญดังนี้ 1. ความผิดทางอาญา เป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดผลเสียหายหรือเกิดความหวาดหวั่นคร้ามแก่บุคคลทั่วไป ความผิดทางอาญาส่วนใหญ่จึงถือว่าเป็นความผิดต่อแผ่นดินหรือประขาชนทั่วไป ส่วนความผิดทางแพ่ง เป็นเรื่องระหว่างเอกชนต่อเอกชนด้วยกัน ไม่มีผลเสียหายต่อสังคมแต่อย่างใด 2. กฎหมายอาญา นั้นมีวัตถุประสงค์ที่จะลงโทษผู้กระทำความผิด ฉะนั้น หากผู้ทำผิดตายลง การสืบสวนสอบสวน การฟ้องร้อง หรือการลงโทษก็เป็นอันระงับลงไป ส่วนความผิดทางแพ่ง เป็นเรื่องการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับทรัพย์สินของบุคคล ดังนั้น เมื่อผู้กระทำผิดหรือผู้ละเมิดตายลง ผู้เสียหายย่อมฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายต่าง ๆ จากกองมรดกของผู้กระทำผิดหรือผู้ละเมิดได้ เว้นแต่จะเป็นหนี้เฉพาะตัวเช่น แดงจ้างดำวาดรูป ต่อมาดำตายลง ถือว่าหนี้ระงับลง 3. ความรับผิดทางอาญา ถือเจตนาเป็นใหญ่ในการกำหนดโทษ เนื่องจากการกระทำผิดดังที่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 บัญญัติว่า " บุคคลจะต้องรับผิดทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทำโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา... " ส่วนความรับผิดทางแพ่ง ไม่ว่ากระทำโดยเจตนาหรือประมาทผู้กระทำก็ต้องรับผิดทั้งนั้น 4.

หลักกฎหมายอาญา - criminal law

กฎหมาย การลงโทษทางอาญาและการควบคุมการก่ออาชญากรรม

  • เตา ขนมครก ราคา
  • ราคา nissan almera 2010 edition
  • วิธีการเขียนบทหนังสั้น - SRP31203
  • ขาว มณี ผสม เปอร์เซีย ราคา
  • Gucci dionysus mini ราคา purse
  • รถเช่ารัชดา
  • ท้ายโด่ง Toyota Corona สีขาวสภาพงามงามออร่ากระจายชุดแต่งรอบคันดันทรงเก็บงานครบแล้วค่ะ - YouTube

ประวัติความเป็นมาของกฎหมายอาญาไทย แม้ว่าตามแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายอาญา กฎหมายควรจะมีการบัญญัติขึ้นจากเจตจำนงค์ของประชาชน ก็ตาม แต่ในประเทศไทย ประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้ในปัจจุบัน มิได้มีการบัญญัติขึ้นตามแนวคิดดังกล่าว หากแต่เป็นการเร่งรัดและรีบให้มีการออกกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้กฎหมายมีความ เหมาะสมตามกาลสมัยที่พัฒนามาจาก กฎหมายลักษณะอาญา รศ. ๑๒๗ เพื่อให้กฎหมายมีความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ (ศ. ดร. หยุด แสงอุทัย เป็นผู้ร่างประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีการประกาศใช้ในปี พ. ศ. ๒๔๙๙) หลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป 1. กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ " ถ้อยคำ " ในบทบัญญัติกม. อาญาต้องมีความชัดเจนหลีกเลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้การตัดสินคดี ขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย และอำเภอใจผู้พิจารณาคดี 2. ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (การให้เหตุผลโดยอ้างความคล้ายคลึงกัน) ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล 3. กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม. ที่ใช้ใน ขณะกระทำการนั้นกม. อาญาในที่นี้ คือ บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับการกระทำผิดและโทษ (Nullum crimen, nulla peona sina lega หรือ No crime, no punishment without law) 4.